เครื่องปรุงอาหารญี่ปุ่นที่ควรมีติดบ้าน

ขอเสนอเครื่องปรุงญี่ปุ่นที่คนไทยควรมีติดบ้านค่ะ เอามาปรุงอะไร ซื้อแบบไหนดี เรามาทำความรู้จักกับเครื่องปรุงสิบชนิดที่จะช่วยยกระดับการทำอาหารญี่ปุ่นที่บ้านของคุณค่ะ

  1. โชยุ (しょうゆ/醤油)
    โชยุ (しょうゆ/醤油) หรือ ซีอิ๊วญี่ปุ่น มีต้นตำรับมาจากจีนเช่นเดียวกับซีอิ๊วของไทยค่ะ เชื่อว่าเข้ามาญี่ปุ่นในยุคนารา (ช่วง ค.ศ. 710 – 794) ใช้ถั่วเหลืองหมักในถังไม้ขนาดใหญ่ มีสี กลิ่น รสชาติ เป็นเอกลักษณ์ค่ะ
    ปัจจุบันโชยุไม่ได้มีเพียงรสชาติเดียวนะคะ หลักๆมีรสเข้มพื้นฐาน รสอ่อน รสเค็มน้อย (ลดปริมาณโซเดียมให้น้อยลง) เป็นต้น และยังมีโชยุที่มีส่วนผสมอื่นผสมนอกจากถั่วเหลืองด้วยค่ะ เช่นโชยุผสมดาชิ (ซุปสต๊อกญี่ปุ่น) ขวดเล็กกว่า ราคาแพงกว่า มีกลิ่นหอมน่ารับประทาน นิยมใช้เป็นเครื่องจิ้ม ไม่นำไปปรุงอาหารหรือผ่านความร้อนเพราะจะทำให้โชยุเสียกลิ่นและรสชาติค่ะ นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาโชยุขวดสูญญากาศ ที่ช่วยรักษาความสดหอมของโชยุในทุกครั้งที่เปิดรับประทานด้วยค่ะ

jumbo jili

โฟมโชยุ (อะวะ โชยุ/泡しょうゆ)
โฟมโชยุ (อะวะ โชยุ/泡しょうゆ) คือโชยุที่ผสมกับน้ำและผงเจลาติน นำมาตีจนเกิดฟอง รับประทานเป็นเครื่องจิ้มเช่นเดียวกับโชยุทั่วไป มีรสชาติและสัมผัสละมุนนุ่มลิ้น สามารถทำเองได้ที่บ้านแต่ค่อนข้างใช้เวลามากค่ะ
ส่วนผสมและวิธีทำง่ายๆนะคะ น้ำอุ่น 80℃ 1 ช้อนโต๊ะ ละลายผงเจลาติน 1 กรัม นำมาตีกับโชยุ 10 กรัมที่ผสมน้ำ 20 กรัม พอขึ้นฟองก็รองด้วยน้ำแข็งและตีต่อไปจนตั้งยอดค่ะ คล้ายกับการตีกาแฟฟอง Dalgona Coffee เมนูอยู่บ้านที่กำลังฮิตในโลกโซเชี่ยลขณะนี้เลยค่ะ

โชยุปรุงอาหารได้ทั้งคาวหวาน ทำขนมหรือของว่างเช่น ขนมมิทาราชิดังโงะหรือมันฉาบนิ่ม (ไดกาคุอิโมะ) / เป็นน้ำจิ้มคู่กับวาซาบิรับประทานกับปลาดิบ ซูชิ หรือผักลวกก็ได้ / ราดข้าวหน้าไข่ดิบ (tamago kake gohan) / ทำอาหารคาวประเภทต้มอย่าง ปลาต้ม หมูชาชู ไข่ดองโชยุ / เมูนูผัดเช่นผัดผักใส่เนย (เนยกับโชยุมีรสชาติที่เข้ากันได้ดีค่ะ) / หรือทำเมนูย่างเช่นไก่เทอริยากิ ปลาเทอริยากิ ไก่ย่าง (ยากิโทริ) เป็นต้น

สล็อต

  1. สาเกทำอาหาร หรือ เรียวริชู (ryouri shu;料理酒)
    เรียวริชู (ryouri shu;りょうりしゅ/料理酒) คือสาเกทำอาหาร แต่จริงๆแล้วสาเกสำหรับดื่ม กับ สาเกปรุงอาหาร ก็มีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกัน ใช้ปรุงอาหารได้เหมือนกัน แค่ราคาสาเกสำหรับดื่มนั้นแพงกว่าค่ะ ส่วนความแตกต่างกัน อยู่ที่ส่วนผสมค่ะ สาเกสำหรับดื่มคือแอลกอฮอล์ล้วน ส่วนสาเกปรุงอาหารมักจะมีเกลือ บางทีก็มีน้ำตาลผสม ไม่ใช่สาเกล้วน ไม่สามารถดื่มเปล่าๆได้ เรียกได้ว่าดื่มเล่นไม่อร่อยค่ะ
    ที่ญี่ปุ่น “เรียวริชู” นี้ร้านค้าสามารถขายได้โดยไม่จำเป็นต้องมีใบอนุญาตขายสุรา เพราะจัดเป็นเครื่องปรุงที่ไม่ต้องจ่ายภาษีสุราค่ะ

อาหารจากสาเกทำอาหาร เด็กกินได้
เรียวริชู มีกลิ่นหอมจากการหมักข้าวเป็นเอกลักษณ์ และมักมีรสเค็มจากเกลือ และขมเล็กน้อยด้วยปริมาณแอลกอฮอล์ 11.5~12.5 % เมื่อนำปรุงอาหารผ่านความร้อนในเวลาที่เหมาะสมแล้ว แอลกอฮอล์จะระเหยไปและไม่ขม จึงสามารถทำปรุงให้รับประทานได้ทุกวัยค่ะ

สล็อตออนไลน์

หลายคนคิดว่าเรียวริชูเป็นเพียงน้ำใสๆจะใส่ปรุงอาหารหรือไม่ ก็ไม่ต่างกัน นั่นไม่จริงค่ะ เรียวริชูเป็นเครื่องปรุงที่จำเป็นมากสำหรับอาหารญี่ปุ่น มีคุณสมบัติ 4 ประการ คือ
(1) ช่วยดับกลิ่นคาว เช่น เหยาะสาเกบนเนื้อปลาขณะย่างหรืออบปลา
(2) ทำให้เนื้อสัตว์นุ่ม เช่น หมักเนื้อไก่สำหรับทำคาระอะเกะ หมักเนื้อหมูหรือเนื้อวัวเพื่อทำชาบูชาบู
(3) ทำให้เครื่องปรุงซึมเข้าเนื้อได้เร็วยิ่งขึ้น เช่น อาหารที่ใช้เวลาต้มนานอย่าง ปลาสามรส”คันโรนิ”
(4) ดึงรสชาติของอาหารเหล่านั้นให้ถึงรส และมีรสชาติกลมกล่อม (มีอูมามิ) ซึ่งเป็นรสชาติพื้นฐานที่ทำให้อาหารอร่อยค่ะ เช่น น้ำซุปอุด้ง เมนูหม้อไฟต่างๆ เป็นต้น
เรียวริชู สามารถหาซื้อที่ไทยได้ตามซุปเปอร์มาร์เก็ตของญี่ปุ่น แต่ซุปเปอร์ไทยใหญ่ๆก็มีเช่นกัน

  1. มิริน (みりん/味醂)
    มิริน (みりん) หรือมิรินแท้ (ฮงมิริน/本みりん) เป็นเครื่องปรุงที่มีส่วนผสมแอลกอฮอล์มากกว่า 13.5 ดีกรี ที่ญี่ปุ่นร้านค้าทั่วไปไม่สามารถจำหน่ายได้หากไม่มีใบอนุญาตจำหน่ายสุราค่ะ
    จึงมีการผลิต ”มิรินปรุงแต่ง” ขึ้นมาแทน โดยมีปริมาณแอลกอฮอล์แค่1% เรียกว่า “มิรินฟูโชมิเรียว”「みりん風調味料」หรือเครื่องปรุงรสคล้ายมิริน ทำมาจากแอลกอฮอล์ผสมน้ำตาล รสชาติความอร่อยต่างกัน และราคาก็ถูกกว่ามิรินแท้เท่าตัวค่ะ
    ถ้ามีงบแน่นอนว่าแนะนำฮงมิรินค่ะ

jumboslot

ฮงมิริน มีรสหวานธรรมชาติที่ได้จากการหมักข้าว กลิ่นหอมคล้ายสาเก (เรียวริชู) ปริมาณแอลกอฮอล์สูง ก่อนรับประทานต้องทำให้แอลกอฮอล์จะระเหยหมดโดยผ่านความร้อนในเวลาที่เหมาะสม มีคุณสมบัติคล้ายกับสาเก ต่างกันแค่รสชาติหวานค่ะ
รสหวานของมิรินมีความกลมกล่อม จะไม่หวานแหลมโดดอย่างน้ำตาลทราย และช่วยตัดรสเค็มของอาหารที่ปรุงด้วยโชยุให้ละมุน และยังทำให้อาหารดูมันเงาน่ารับประทาน นิยมปรุงของว่างอย่าง มันฉาบ (ไดกาคุอิโมะ) โมจิห่อสาหร่าย(อิโซเบยากิ) หรือจะปรุงอาหารคาว เช่นคินปิระ เทอริยากิปลา เทอริยากิไก่ เป็นต้น
เท่าาที่หาดู มียี่ห้อ ทาคาระฮงมิรินจุนเรียวที่สามารถหาซื้อที่ไทยได้ตามซุปเปอร์มาร์เก็ตชั้นนำ
ขนาด 300 มล. ราคา 219 บาท

  1. มิโสะ (みそ/味噌)
    “มิโสะ” เป็นเครื่องปรุงที่มีกระบวนการหมักโดยใช้หัวเชื้อ “โคจิ” (koji/麹) ซึ่งทำหน้าที่คล้ายยีสต์ ทำการย่อยสลายโปรตีนในถั่วเหลืองให้เป็นกรดอะมิโนที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย นอกจากนี้ยังมีวิตามิน B1, B2, B6, B12, E, K, กรดโฟลิก,โซเดียม, โพแทสเซียม, แคลเซียม, แมกนีเซียม, ฟอสฟอรัส, เหล็ก, ทองแดง และ ไอโอดีน เป็นต้น
    มิโซะ มีกลิ่นหอมเป็นเอกลักษณ์ เนื้อสัมผัสนิ่ม รสชาติเค็ม มีทั้งเค็มมาก เค็มน้อย ขึ้นอยู่กับวัตถุดิบและระยะเวลาในการหมัก ทำให้มิโสะของญี่ปุ่นมีหลายชนิดหลายสี เช่น สีขาว สีแดง สีกลาง ค่ะ
    มิโสะที่ขายตามซุปเปอร์มาร์เก็ตส่วนใหญ่ หลายยี่ห้อผสมสารกันบูดและสารปรุงแต่ง หากเลือกไม่ถูกว่าจะซื้อสีไหนดี ให้ดูที่ส่วนผสมก่อนเลยค่ะ แนะนำชนิดปลอดสาร ถ้าอยู่ญี่ปุ่น ให้หาตัวอักษรภาษาญี่ปุ่นคำว่า mutenka (มุเทนคะ/無添加) มักจะราคาแพงกว่า ดีต่อร่างกายมากกว่าค่ะ

slot

มิโสะ นำไปประกอบอาหารได้หลายชนิด ไม่เพียงแต่ซุปมิโสะที่เรารู้จักค่ะ ใช้ปรุงหม้อไฟเช่นอุด้งเส้นใหญ่ต้มกับผัก (โฮวโตว) อาหารขึ้นชื่อของจังหวัดยามะนาชิที่คนไปชมฟูจิน่าจะเคยกิน / ส่วนผสมของว่างอย่างข้าวจี่ (โกเฮโมจิ) อาหารขึ้นชื่อของจังหวัดกิฟุ / ผสมกับน้ำส้มสายชูเป็นเครื่องจิ้มที่มีรสเปรี้ยวของซาชิมิบุกก้อน อาหารขึ้นชื่อของจังหวัดโทะชิงิ / ผสมพอนสึเป็นน้ำจิ้มชาบูชาบูก็ได้ / หมักเนื้อสัตว์ต่างๆทำเมนูปิ้งย่างก็ได้ / เป็นส่วนผสมของน้ำสลัดและผัดผัก / หรือทำน้ำซุปมิโสะราเมง เป็นต้น
มิโสะขาว ยี่ห้อ มารุโกเมะ สามารถหาซื้อที่ไทยได้ตามซุปเปอร์มาร์เก็ตชั้นนำ แพค 1 กิโลกรัม ราคา 129 บาท เป็นยี่ห้อพื้นฐานที่คนญี่ปุ่นก็ใช้ค่ะ

  1. คัตสึโอะบุชิ (かつおぶし/鰹節)
    “คัตสึโอะบุชิ” คือปลาโอแห้ง มีกระบวนการทำหลายขั้นตอนและใช้เวลานาน 4-6 เดือน เริ่มจากการคัดปลาคัตสึโอะ นำมาแล่เรียงใส่กระบะต้ม (ขั้นตอนนี้จะเป็นตัวกำหนดรูปร่าง) นำไปต้ม ผึ่งให้เย็นแล้วเลาะหนังปลาและเลาะกระดูกออก แล้วนำไปรมควัน แล้วตากแดดให้แห้ง นำมาขูดหนังให้เกลี้ยง แต่งรูปให้สวยงาม เสร็จแล้วนำมาหมักให้ขึ้นราทั่วชิ้น ขูดราออก ตากแดด นำไปหมักให้ขึ้นรา ขูดรา ตากแดด ทำวนไปจนได้ชิ้นปลาที่แห้งแข็ง เรียกว่า “คัตสึโอะบุชิ” หรือ ปลาโอแห้ง ค่ะ
    ปลาโอแห้งมีรสอูมามิ ทานเปล่าก็อร่อย นำมาปรุงอาหารได้มากมาย ชนิดเส้นใหญ่และชนิดบดละเอียดเหมาะทำซุปสต๊อกญี่ปุ่น (ดาชิ) สำหรับปรุงซุปมิโสะหรือทำเมนูหม้อไฟเป็นต้น / ชนิดผงเหมาะทำข้าวปั้น(โอนิกิริ) ยากิโซบะ หรือใส่ซุปก็ได้ค่ะ / ชนิดเส้นฝอย เหมาะโรยสลัด, ผักต้ม, ใส่ผัดมะระ, กินกับเต้าหู้เย็น หรือ ทำผงโรยข้าวเป็นต้น
    คนญี่ปุ่นชอบการท่องเที่ยวและการกินมาก

กินอาหารญี่ปุ่นตามฤดูกาล ภาคฤดูใบไม้ผลิ

หยุดกินตามเทรนด์แล้วลองมากินตามฤดูกาลแบบคนญี่ปุ่นดูซักครั้งมั้ย อาหารญี่ปุ่นแต่ละฤดูมักแตกต่างกันอย่างชัดเจนเนื่องจากสภาพอากาศแตกต่างกันตลอดปีและวัตถุดิบจากธรรมชาติก็จะต่างกันไปตามฤดูกาล เมื่อเข้าฤดูใบไม้ผลิ ต้นไม้ใบหญ้าผลิดอกออกผล อาหารในฤดูจึงเป็นพืชผักแรกฤดูและต้นอ่อนต่างๆ รวมไปถึงดอกซากุระ สัญลักษณ์ของฤดูใบไม้ผลิค่ะ

ฤดูร้อน (นัตสึ/夏) ช่วงเดือน 6 – 8 อากาศร้อนพอๆกับที่ไทย แต่จะเหนียวตัวด้วยลมทะเลค่ะ อาหารประจำฤดูนี้ก็จะเย็นๆ หลายอย่างมีน้ำแข็งด้วยนะคะ เช่นเส้นหมี่ญี่ปุ่นในน้ำเย็นใส่น้ำแข็งจิ้มซุปเย็นๆอย่าง โซเมง (そうめん) ขนมหวานเย็นญี่ปุ่นมีถั่วกวนเป็นส่วนผสมหลักอย่างอันมิตสึ (あんみつ) น้ำแข็งไสคาคิโกริ (かき氷) และ อาหารจีนแบบญี่ปุ่นอย่างบะหมี่เย็นฮิยาชิชูกะ (冷やし中華) ซึ่งตามร้านอาหารจีนอาจจะขึ้นป้ายหน้าร้านว่า ฮิยาชิชูกะเริ่มขายแล้ว เพราะเมนูนี้ส่วนใหญ่จะมีเฉพาะหน้าร้อนค่ะ

jumbo jili

ฤดูใบไม้ร่วง (อากิ/秋) ช่วงเดือน 9 -11 เป็นฤดูที่ฟ้าโปร่งมาก ในชนบทใบไม้ที่ร่วงจะนำมาสุมไฟเผามันเทศค่ะ ซึ่งเป็นพืชที่เก็บเกี่ยวในฤดูนี้ค่ะ นอกจากทำมันเผา ยังทำข้าวอบ (ทาคิโกมิโกฮัน/炊き込みご飯)ได้อร่อยค่ะ ส่วนอาหารอย่างอื่นที่เด่นคือ อาหารจำพวกเห็ด เช่นเห็ดหอมย่างซีอิ๊ว ข้าวอบเห็ดมัตสึทาเกะ และปลาทะเลต่างๆอย่าง ปลาบุริ และ ปลาซันมะ ค่ะ

ฤดูหนาว (ฟูยุ/冬) ในช่วงเดือน 12 – 2 อุณหภูมิเป็นองศาเซลเซียสประมาณเลขตัวเดียวหรืออาจติดลบ อาหารที่คนญี่ปุ่นนิยมกินในฤดูนี้แน่นอนว่าคืออาหารร้อนๆที่มีน้ำซุป เช่นอาหารจำพวกหม้อไฟค่ะ นอกจากทำให้ร่างกายอบอุ่นแล้ววัตถุดิบหลักของหม้อไฟอย่างผักกาดขาว หัวไชเท้า ก็เป็นผักที่เก็บเกี่ยวในฤดูนี้ค่ะ

สล็อต

อาหารยอดนิยมหากไปเที่ยวในช่วงฤดูใบไม้ผลิหรือซากุระของญี่ปุ่น
แต่สำหรับวันนี้เราอยากพูดเรื่องอาหารในฤดูใบไม้ผลิ ให้เข้ากับบรรยากาศการชมซากุระค่ะ
ฤดูใบไม้ผลิ (ฮารุ/春) ช่วงเดือน 4 – 5 อาหารในฤดูนี้ก็จะเป็นพืชผักและต้นอ่อนที่ผลิดอกออกผลมาสดใหม่ เช่นหน่อไม้ กระหล่ำปลีฤดูใบไม้ผลิ มันฝรั่งใหม่ shin-jagaimo หัวหอมใหญ่ใหม่ shin-tamanegi ดอกนาโนะฮานะ และขนมต่างๆที่แต่งเป็นสีชมพู หรือใช้วัตถุดิบจากส่วนดอกกับใบซากุระค่ะ

พืชผักป่าของญี่ปุ่น (ซันไซ/山菜)
ตามภูเขาเมื่อหิมะเริ่มละลาย ก็จะมีต้นอ่อนของผักและพืชป่าขึ้นมาค่ะ ตัวอย่างเช่น ฟูกิโนะโทอุ (ふきのとう) ทาระโนะเมะ (たらの芽) โคโกมิ (こごみ) ที่หากินได้แค่ช่วงนี้ค่ะ

สล็อตออนไลน์

ฟูกิโนะโทอุ (ふきのとう) ทาระโนะเมะ (たらの芽) รสชาติออกขมอร่อยเป็นเอกลักษณ์ค่ะ มีขายตามซุปเปอร์มาร์เก็ตทั่วไปแต่ราคาค่อนข้างแพง พืชป่าตามเมืองมีให้เห็นน้อยชนิดค่ะ หากใครได้ท่องเที่ยวธรรมชาติ และได้ไปร้านขายของฝากบนภูเขา จะมีพืชป่าและผักแปลกๆที่หาดูไม่ค่อยไได้ทั้งในญี่ปุ่นเองและไทย วางจำหน่ายมากมายค่ะ

ผักที่ขมมักจะนำมาทอดเป็นเทมปุระค่ะ กรอบอร่อยและกินง่าย แต่รสขมก็ยังไม่หายไปนะคะ ส่วนผักที่ไม่ขมอย่าง โคโกมิ (ต้นคล้ายผักกูด) ชาวบ้านที่เก็บมาจะนำไปต้มจิ้มกับมายองเนสง่ายๆค่ะ

หน่อไม้ (ทาเกะโนะโกะ/たけのこ)
หน่อไม้ในฤดูใบไม้ผลิ มีกลิ่นหอมสดชื่นกรอบอร่อย สำหรับหน่อไม้ที่ตัดใหม่ๆเราสามารถกินสดได้เลยขณะนั้นค่ะ แต่กว่าจะถึงร้านค้าก็ใช้เวลานาน ความสดก็ลดลงและมีความเป็นกรดมากด้วย เพราะฉะนั่นเราต้องนำมาทำให้สุกก่อนค่ะ

jumboslot

ข้าวหุงหน่อไม้
หน่อไม้ที่ต้มแล้ว หากยังไม่ไปปรุงอาหาร ให้ใส่กล่องเติมน้ำให้ท่วม เก็บใส่ตู้เย็นได้ 3-4 วัน และควรเปลี่ยนน้ำที่แช่ทุกวันค่ะ สำหรับที่ต้มเสร็จใหม่ ทำเมนูอร่อยสุดคือ ข้าวหุงหน่อไม้ (ทาเกะโนโกะโกฮัน/たけのこご飯) ค่ะ

หน่อไม้ต้ม
อีกเมนูคือ หน่อไม้ต้มคาสึโอะบุชิ (ทาเกะโนะโกะ โนะ โทสานิ/たけのこの土佐煮) หาซื้อได้ตามซุปเปอร์มาร์เก็ตทั่วไปค่ะ มีเฉพาะฤดูนี้นะคะที่ใช้หน่อไม้สดหอมอร่อยค่ะ

slot

ผักกะหล่ำปลีฤดูใบไม้ผลิ (ฮารุ คาเบะสึ/春キャベツ)
หัวผักกะหล่ำปลีที่เก็บเกี่ยวในฤดูใบไม้ผลิผักจะมีช่องว่างระหว่างใบ ใบอ่อน ไม่อัดแน่นเหมือนในฤดูอื่น มีความสดฉ่ำ ด้วยความสดนี้นำมาทำผักสลัดอร่อยสุดค่ะ หากนำมาปรุงอาหาร ให้ผ่านความร้อนเพียงเล็กน้อยเพื่อรสชาติกรอบอร่อยของผักค่ะ

ผักกะหล่ำปลีฤดูใบไม้ผลิ แม้จะกินสดได้อร่อย แต่เมนูที่คนญี่ปุ่นนิยมมากคือ กะหล่ำปลียัดไส้ (โรลคาเบะสึ/ロールキャベツ) ค่ะ นำมาต้มได้ 2 แบบค่ะ คือต้มน้ำซุปมะเขือเทศแบบฝรั่ง กับต้มซุปดะชิญี่ปุ่น ไม่ว่าจะแบบไหนก็เข้ากับฤดูใบไม้ผลิดีค่ะ คนญี่ปุ่นชอบการท่องเที่ยวและการกินมาก

รู้จักกับวาซาบิ เครื่องปรุงของคนญี่ปุ่น

วาซาบิ เป็นเครื่องปรุงที่มีติดบ้านกันแทบทุกครัวเรือน ใช้กินกับอาหารได้หลายชนิด และยังเป็นส่วนผสมของขนมคบเคี้ยวอีกด้วย แต่วาซาบิที่เรากินนั้นไม่ได้ทำจากวาซาบิแท้ 100% ทั้งหมดนะคะ มาดูกันค่ะว่าวาซาบินั้นทำมาจากอะไร แล้วชนิดไหนที่คนญี่ปุ่นนิยมรับประทานกันค่ะ

วาซาบิที่เรากินนั้น ไม่ใช่วาซาบิสดเสมอไป
วาซาบิ (わさび) ที่คนญี่ปุ่นรับประทานนั้นมี 2 ชนิด คือ

jumbo jili

  1. วาซาบิแท้ หรือ วาซาบิสด ภาษาญี่ปุ่น เรียกว่า ฮอน วาซาบิ (本わさび)
    เป็นพืชสมุนไพรของญี่ปุ่น ขึ้นเฉพาะบริเวณที่น้ำสะอาดจริงๆค่ะ อย่างต้นน้ำบนภูเขา มีรสชาติเผ็ดแต่แฝงความหวานละมุนพร้อมกลิ่นที่สดชื่น สรรพคุณหลักคือช่วยดับกลิ่นคาวและต้านแบคทีเรีย

ส่วนที่นิยมบริโภคคือ โคนลำต้น ทานสดโดยนำมาฝนละเอียด ซึ่งหลายคนเข้าใจผิดคิดว่าเป็นรากเพราะเป็นส่วนที่ฝังอยู่ในดินค่ะ สำหรับใบวาซาบินั้นก็รับประทานได้เช่นกัน แต่หารับประทานยากค่ะ ด้วยวาซาบิสด มีราคาแพงและหาซื้อยาก อาจมีให้เห็นตามซุปเปอร์มาร์เก็ตบางแห่ง แล้วที่ขายนั่นก็มีแต่ส่วนโคนลำต้นค่ะ

  1. ฮอร์สแรดิช หรือ วาซาบิสีขาว ภาษาญี่ปุ่น เรียกว่า เซโย วาซาบิ (西洋わさび)

เป็นพืชทางยุโรป มีหัวสีขาว กลิ่นฉุนเฉพาะตัว รสชาติเผ็ดมากกว่าวาซาบิแท้ อุดมไปด้วยแร่ธาตุและวิตามิน สรรพคุณช่วยรักษาโรคได้หลากหลายค่ะ มีการเพาะปลูกทางภูมิภาคที่

สล็อต

อากาศหนาวเย็นอย่างจังหวัดฮอกไกโดของญี่ปุ่น
ชาวญี่ปุ่นนำมาแปรรูปผสมสีและแต่งกลิ่นให้มีความใกล้เคียงกับวาซาบิแท้เพื่อทดแทนวาซาบิสดที่ราคาแพงนั้นเองค่ะ ซึ่งจะเรียกว่าวาซาบิเทียมก็คงไม่ผิดอะไรค่ะ

วาซาบิหลอด
วาซาบิหลอดที่เห็นตามซุปเปอร์คือวาซาบิผง มีหลากหลายสูตร ทั้งที่ทำมาจากวาซาบิแท้ 100% หรือแบบผสมเซโยวาซาบิ แล้วนำมาแต่งกลิ่นผสมกับส่วนผสมอื่นๆ จนเป็นเนื้อครีม มีรสชาติและสรรพคุณใกล้เคียงกับวาซาบิสดคือช่วยลดกลิ่นคาวและยับยั้งแบคทีเรีย บรรจุในหลอดพลาสติกเพื่อความสะดวก พร้อมรับประทาน ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายจนกลายเป็นเครื่องปรุงหลักที่มีติดทุกบ้าน ราคาตั้งแต่ 100~500 เยน (29~145 บาท) ขึ้นอยู่กับปริมาณของวาซาบิแท้ค่ะ และเมื่อเปิดใช้แล้วก็ต้องเก็บในตู้เย็นนะ
วาซาบิหลอดที่มีส่วนผสมของวาซาบิแท้มากกว่า 50% ของปริมาณสุทธิ ที่บรรจุภัณฑ์สามารถเขียนบอกว่าเป็น ฮอนวาซาบิ(วาซาบิแท้) ได้ ตามข้อตกลงของสมาคมแปรรูปวาซาบิแห่งประเทศญี่ปุ่น

วาซาบิหลอดอย่างดี
มีส่วนผสมวาซาบิแท้ในปริมาณมาก ราคาแพงสุด ส่วนใหญ่จะวางขายคู่กับปลาดิบซาชิมิค่ะ

สล็อตออนไลน์

วาซาบิซองเล็ก ไม่ได้ฟรีทุกร้าน
วาซาบิซองเล็กที่มีให้ในกล่องซูชิ หรือวางใส่ถาดให้หยิบเองนั้นก็เป็นชนิดเดียวกับวาซาบิหลอดค่ะ ส่วนใหญ่นั้นจะแถมฟรี แต่ซุปเปอร์มาร์เก็ตบางแห่งก็คิดราคานะคะ ซองละ 10-20 เยน (3-6 บาท)

ผงวาซาบิ
ผงวาซาบิ หรือ โคนะวาซาบิ (โคนะแปลว่าผง) ทำมาจาก เซโยวาซาบิ แต่งสีค่ะ เนื่องจากเป็นผงแห้งๆจึงมีอายุใช้งานนานกว่าชนิดหลอด และไม่ต้องเก็บในตู้เย็น เวลาจะใช้ค่อยนำมาผสมน้ำเปล่าทานได้ตามปกติ และยังสามารถปรุงอาหารได้หลากหลาย เช่น ทำน้ำสลัดและผักดองค่ะ
วาซาบิกับอาหารหลากหลาย
วาซาบิ นอกจากกินกับปลาดิบและซูชิแล้ว ยังเป็นเครื่องจิ้มอาหารประเภทเส้น อย่างเช่น โซบะ โซเมน และ ฮิยามูงิ อีกด้วยนะคะ ซึ่งนิยมทานกันมากในฤดูร้อนของญี่ปุ่นค่ะ

จากรูปจะเห็นว่ามีซองวาซาบิแถมให้ ถ้าเราไม่ได้ซื้อเส้นมาต้มเองก็ไม่ต้องซื้อวาซาบิหลอดเลยค่ะ เพราะคนญี่ปุ่นก็ไม่ได้กินวาซาบิกับอาหารชนิดอื่นมากนัก ทั้งยังมีเครื่องปรุงและอาหารสำเร็จรูปขายพร้อมมากมายค่ะ อย่างเช่น
ผงโรยข้าววาซาบิ กินเหมือนผงโรยข้าวทั่วไปคือ โรยบนข้าวสวยร้อนๆแล้วรับประทานตามชอบ มีส่วนผสมของสาหร่ายและงา กินกับไก่ย่าง หรือใส่เบนโตะก็เข้ากันดีค่ะ
มายองเนสผสมวาซาบิ ใช้จิ้มผักกิน หรือกินกับอาหารทะเลอย่างปลาหมึกยักษ์ต้มก็อร่อยค่ะ หรือจะใช้กับอาหารชนิดอื่นที่นิยมจิ้มกินกับมายองเนสก็ไม่ว่ากัน

jumboslot

น้ำสลัดวาซาบิ มีทั้งน้ำใสและน้ำข้น ทานกับผักสลัดตามชอบ
เกลือป่นผสมวาซาบิ สำหรับจิ้มเทมปุระ หรือกินกับสเต็กก็อร่อยค่ะ

วาซาบิดอง
วาซาบิดอง หรือ วาซาบิ ซึเกะ (わさび漬) ทำจากวาซาบิสดทั้งลำต้นและใบแล้วนำมาดองกับกากสาเก หรือ สาเก คะสึ (酒粕) เป็นอาหารญี่ปุ่นที่อยากแนะนำให้ลองรับประทานกันนะคะ สำหรับใครที่ชอบผักดองแบบญี่ปุ่น รับรองว่าต้องชอบแน่นอนค่ะ มีรสชาติเผ็ดเค็มกำลังดี กินกับข้าวสวยร้อนๆ ข้าวต้ม ข้าวราดน้ำชา จิ้มลูกชิ้นปลาคามาโบะโคะและชิกุวะ หรือเป็นกับแกล้มก็ได้ค่ะ

ขนมญี่ปุ่นรสวาซาบิ
ขนมยี่ห้อคากิโนะทาเนะ (柿の種) แปลว่า เมล็ดลูกพลับ ด้วยรูปลักษณ์เหมือนกับเมล็ดลูกพลับพันธุ์หนึ่งของญี่ปุ่น ทำมาจากข้าวเกรียบญี่ปุ่น นอกจากรสโชยุ(ถุงสีส้ม)แล้วก็ยังมีรสวาซาบิด้วยนะคะ กินเล่นหรือเป็นกับแกล้มก็ได้ค่ะ อร่อยไม่แพ้ถั่วลันเตารสวาซาบิที่คนไทยนิยมซื้อเป็นของฝากกันเลยค่ะ

slot

ถ้วยน้ำจิ้มใส่วาซาบิ
ถ้วยเล็กจิ๋วแบบญี่ปุ่น สำหรับใส่วาซาบิและโชยุ ภาษาญี่ปุ่น เรียกว่า มะเมะสะระ (豆皿) ค่ะ เป็นเครื่องครัวที่มีมาแต่โบราณ ปัจจุบันมีแบบทันสมัยแต่ยังคงความเป็นญี่ปุ่น ซึ่งเป็นที่นิยมของชาวต่างชาติมากค่ะ
ถาดเก็บหลอดเครื่องปรุง
เมื่อเรารู้จักวาซาบิหลอดแล้ว อยากจะซื้อมาติดบ้านไว้ ที่ญี่ปุ่นมีอุปกรณ์เก็บเครื่องปรุงประเภทหลอดสำหรับแขวนกับถาดในตู้เย็นให้เป็นระเบียบสวยงามค่ะ ในภาพมีทั้งวาซาบิหลอด ขิงหลอดสำเร็จรูป มัสตาร์ดค่ะ
มีหลายแบบให้เลือกสรร จะเก็บหลอดเดียวหรือหลายหลอดก็ได้นะคะ หาซื้อได้ตามร้านขายของแต่งบ้าน(โฮมเซนเตอร์) และร้านร้อยเยนทั่วไปค่ะ คนญี่ปุ่นชอบท่องเที่ยวและถือเป็นวัตธนธรรมกันสืบมา คนญี่ปุ่นชอบการท่องเที่ยวและการกินมาก

รอบรู้เรื่องโชยุ พร้อมวิธีการเลือกซื้อ

“โชยุ” มีต้นตำรับมาจากจีนเช่นเดียวกับซีอิ๊วของไทย ในญี่ปุ่นนั้นเริ่มใช้ถั่วเหลืองในการหมักซอสตั้งแต่ยุคนะระ (奈良時代 ค.ศ. 710 – 794) กลายเป็นโชยุที่มีรสชาติเป็นเอกลักษณ์ ปัจจุบันโชยุไม่ได้ใช้ปรุงอาหารญี่ปุ่นเท่านั้นนะคะ เราได้รวบรวมทุกเรื่องเด่นของโชยุ มาดูกันค่ะว่ามีอะไรบ้าง แล้วถ้าเราจะซื้อโชยุสักขวด ควรซื้อแบบไหนดี

“โชยุ” มีต้นตำรับมาจากจีนเช่นเดียวกับซีอิ๊วของไทย ในญี่ปุ่นนั้นเริ่มใช้ถั่วเหลืองในการหมักซอสตั้งแต่ยุคนะระ (ค.ศ. 710 – 794) กลายเป็นโชยุที่มีรสชาติเป็นเอกลักษณ์ ปัจจุบันโชยุไม่ได้ใช้ปรุงอาหารญี่ปุ่นเท่านั้นนะคะ เราได้รวบรวมทุกเรื่องเด่นของโชยุ มาดูกันค่ะว่ามีอะไรบ้าง แล้วถ้าเราจะซื้อโชยุสักขวด ควรซื้อแบบไหนดี

โชยุทำมาจากถั่วเหลือง ผ่านกรรมวิธีการหมักอย่างพิถีพิถันเพื่อให้ได้คุณภาพที่ดีเยี่ยม หอมอร่อย เป็นที่รู้จักในหลายประเทศทั่วโลก บางประเทศรู้จักในชื่อทาคุมิซอส ตามชื่อยี่ห้อบนผลิตภัณฑ์

jumbo jili

สำหรับที่ไทยหลายคนรู้จักโชยุดี แต่ก็ไม่ใช่เครื่องปรุงที่มีติดบ้านกัน เพราะถ้าเราไม่ได้ทำอาหารญี่ปุ่นก็ไม่จำเป็นต้องซื้อโชยุ แต่คนญี่ปุ่นนั้นใช้โชยุปรุงอาหารทั้งคาวหวาน รวมถึงอาหารจีน อาหารฝรั่ง เพื่อให้มีรสชาติถูกปากคนญี่ปุ่นค่ะ

จังหวัดจิบะคือแหล่งผลิตโชยุที่มีชื่อเสียง
โรงงานผลิตโชยุทั่วประเทศญี่ปุ่นมีประมาณ 1,500 แห่ง แต่ที่โดดเด่นเป็นที่รู้จักของคนญี่ปุ่นทั่วไปคือที่จังหวัดจิบะ ที่ตั้งของสนามบินนาริตะและดิสนีย์แลนด์นั่นเอง

ในยุคเอโดะบริเวณจังหวัดจิบะมีทั้งนาเกลือและแหล่งเพาะปลูกถั่วเหลืองกับข้าวสาลีมากมาย (ซึ่งเป็นวัตถุดิบของโชยุทั้งนั้น) จึงทำให้แถวนี้มีโรงงานโชยุเก่าแก่จำนวนมาก ซึ่งยังคงเหลือให้เห็นมาจนถึงปัจจุบัน เช่นที่อำเภอโชชิ ที่ตั้งอยู่ติดกับทะเล หลายๆคนเชื่อกันว่าที่นี่เป็นเมืองต้นกำเนิดของโชยุ ใครมาเที่ยวที่นี่ นอกจากจะกินอาหารทะเลสดๆแล้ว ต้องเลือกซื้อโชยุเป็นของฝากกลับไปค่ะ ที่อำเภอนี้มีโรงงานโชยุที่ใหญ่ๆคือ โชยุยามะซะ (ヤマサ) สำหรับคนญี่ปุ่นแล้วนี่เป็นโชยุยี่ห้อที่ดังพอๆกับ คิคโคแมน ที่คนไทยบางคนก็น่าจะรู้จักค่ะ เทียบกับแบรนด์ไทยก็แล้วนี่คือน้ำปลาแท้ตราปลาหมึกเลย

โชยุที่เรารู้จัก ที่จริงแล้วมีหลายชนิด
ญี่ปุ่นมีการแบ่งประเภทของโชยุตามมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ญี่ปุ่นหรือ JAS (Japanese Agricultural Standard) ซึ่งชนิดโชยุตามกำหนดของ JAS มี 5 ชนิด คือ

สล็อต

(1) โคยคุจิ (こいくち) คือ โชยุรสเข้ม เป็นสูตรต้นตำรับที่มีมาตั้งแต่สมัยเอโดะ ในภูมิภาคคันโต(แถบโตเกียวและจังหวัดโดยรอบ) ผลิตจากถั่วเหลืองและข้าวสาลี ปริมาณโซเดียม 16% มีรส กลิ่น สี ที่ลงตัว ใช้ปรุงอาหารได้หลากหลาย เป็นโชยุที่นิยมที่สุดในญี่ปุ่นมียอดขายมากกว่า 80% ของจำนวนการบริโภคโชยุทั่วประเทศค่ะ
(2) อุสุคุจิ (うすくち) หรือ อาวะคุจิ คือโชยุสีอ่อน ที่จริงๆมีโซเดียมมากกว่าโชยุรสเข้มโคยคุจิถึง 2 % เนื่องจากใช้เกลือและส่วนผสมอื่นนอกจากถั่วเหลืองมาช่วยย่นระยะเวลาการหมัก แต่เนื่องจากมีอูมามิและกลิ่นหอมน้อยกว่า จึงไม่เหมาะกับอาหารประเภทจิ้ม เหมาะกับการปรุงรสน้ำซุปหรือผักต้ม ที่ต้องการเพิ่มรสเค็มโดยที่คงสีสันและกลิ่นของวัตถุดิบนั้นๆ เอาไว้ค่ะ มีปริมาณการบริโภคทั่วประเทศแค่ 13% เป็นที่นิยมมากที่สุดในภูมิภาคคันไซค่ะ
(3) ทามาริ (たまり/ 溜) ส่วนผสมใช้ถั่วเหลืองสุกเป็นหลัก แทบไม่ได้ใช้ข้าวสาลี นำมาบ่มเชื้อแล้วหมักซึ่งอาจนานถึงหนึ่งปี จึงมีรส กลิ่น และสีที่เข้ม เมื่อผ่านความร้อนแล้วจะมีสีออกแดงสวย นิยมใช้ปรุงข้าวเกรียบญี่ปุ่น (เซมเบ้ และ อาราเระ) ไม่นิยมใช้ปรุงอาหารตามบ้าน จึงมีปริมาณการบริโภคทั่วประเทศ 2% เท่านั้นค่ะ
(4) ไซชิโคมิ (さいしこみ / 再仕込み) คือ โชยุที่หมักซ้ำอีกรอบ มีระยะเวลาการผลิตนานถึง 2 เท่า โชยุนี้จึงมีสีและรสที่เข้ม ราคาแพง ทั่วประเทศใช้บริโภคแค่ 1% โดยมักใช้เวลาทานซูชิและปลาดิบ ซึ่งจิ้มกินเพียงนิดหน่อยก็ได้รสชาติ แรกเริ่มมีการผลิตเฉพาะที่จังหวัดยามากุจิ ปัจจุบันเป็นโชยุยอดนิยมของภูมิภาคโทไก (นาโกย่าและเมืองอื่นๆ)
(5) ชิโร่ (しろ) แปลว่าสีขาว คือโชยุไร้สี มีวิธีการหมักตรงกันข้ามกับชนิดทามาริ คือใช้ข้าวสาลีมากกว่า จึงได้สีที่อ่อนเหมือนเบียร์ และมีปริมาณแป้งมากถึง 12-16 % เนื่องจากใช้ถั่วเหลืองน้อยกว่าทำให้รสอุมามิน้อยลงไปด้วย เป็นโชยุชนิดใหม่ที่มีรสชาติต่างจากชนิดอื่น มีมาตั้งแต่ช่วงปลายยุคเอโดะ เหมาะใช้ปรุงน้ำซุปต่างๆเพราะสีน้ำซุปจะไม่เปลี่ยน มียอดขายแค่ 1% ของโชยุทั้งหมดค่ะ

สล็อตออนไลน์

3 รสโชยุยอดนิยม
จากโชยุห้าชนิดข้างต้นที่แบ่งตามวิธีการผลิต ยังมีเรื่องรสชาติอีกที่แตกย่อยเป็นรสต่างๆมากมาย เช่น โชยุเค็มน้อย โชยุรสกลมกล่อม โชยุผสมดะชิ โชยุสาหร่ายคอมบุ โชยุสำหรับซาชิมิ โชยุหอยนางรม โชยุหอยเม่น โชยุถั่วลันเตาญี่ปุ่น เป็นต้น แต่รสหลักๆที่นิยมมากมี 3 รสด้วยกัน คือ

  1. โค่ยคุจิ โชยุ (こいくちしょうゆ) แปลว่ารสเข้มข้น โดยทั่วไปเรียกแค่ โชยุ (醤油) ซึ่งเป็นโชยุต้นตำรับที่ไม่ได้ผ่านกรรมวิธีอะไรเพิ่มเติม ได้รับความนิยมในหลายๆประเทศค่ะ
  2. เกนเอนโชยุ (減塩しょうゆ) คือ โคยคุจิ ที่ผ่านกระบวนการผลิตเพื่อลดปริมาณโซเดียม ซึ่งบางยี่ห้ออาจลดเยอะถึง 50% โดยยังคงรสชาติ ความเค็มเอาไว้ ดีต่อสุขภาพและความอร่อยไม่ต่างจากเดิมเกือบทุกยี่ห้อใช้ฉลากสีเขียวค่ะ
  3. อุสุคุจิ โชยุ (うすくちしょうゆ) หมายถึงโชยุรสอ่อน เค็มน้อยค่ะ ไม่มีกฏตายตัวแต่ในหลายๆยี่ห้อมักจะมีฉลากสีเหลือง
    ในยุคเอโดะ โชยุมักจะบรรจุใส่ถังไม้ขนาดเล็กและมีการนำมาใช้ซ้ำ เรียกถังชนิดนี้ว่า ยูอิดะรุ (結樽 /ゆいだる)
    ปัจจุบันบรรจุภัณฑ์ส่วนใหญ่ทำจากพลาสติก มีหลายขนาด จากเล็กๆแบบตั้งโต๊ะ ถึงใหญ่ขนาด 1.8 ลิตร ตามบ้านที่เข้าครัวทำอาหาร ส่วนใหญ่จะใช้ขนาด 1 ลิตร ไม่ก็ขนาด 750 มิลลิลิตร ค่ะ สำหรับบ้านพักอาศัยที่อยู่นอกตัวเมือง หรือตามหุบเขา หลายๆบ้านก็จะซื้อขวดใหญ่สุดติดบ้านไว้ เพราะไม่สามารถไปจ่ายตลาดได้บ่อยนักค่ะ

jumboslot

โชยุสด (生しゆ) กับ ขวดสูญญากาศ (卓上ボトル)
ในปัจจุบัน บรรจุภัณฑ์โชยุที่เห็นทั่วไปตามท้องตลาด ส่วนใหญ่เป็นขวดพลาสติก มีขวดแก้วเพียงเล็กน้อยเท่านั้น มีอายุการใช้ก่อนเปิดขวด 12-18 เดือน เมื่อเปิดใช้แล้วควรรีบใช้
หากเก็บไว้นานคุณภาพจะลดลง ด้วยเหตุนี้จึงมีบรรจุภัณฑ์รูปแบบใหม่ซึ่งเป็นสูญญากาศ เวลาเปิดเทอากาศจะไม่ไหลเข้าไป ต่างจากแบบขวดธรรมดาที่มีอากาศอยู่เต็มขวดค่ะ
บรรจุภัณฑ์สูญญากาศ เริ่มแรกเป็นซองพลาสติกแข็งสามารถตั้งวางได้ ไม่มีฝาเกลี่ยว ตัดปลายถุง เพียงเล็กน้อย เทใช้ ไม่ต้องปิดถุงอากาศก็ไม่เข้าไปค่ะ เริ่มใช้โดยโชยุยี่ห้อยามะซะ เรียกว่า ซองแบบแอร์บล็อค (エアブロック弁)
ต่อมาในหลายผู้ผลิตได้ใช้นวัตกรรมใหม่ บรรจุขวดที่มีถุงด้านใน เป็นการปิดถึง 2 ชั้น กั้นไม่ให้อากาศเข้า โดยทางคิคโคแมน เรียกขวดชนิดนี้ว่า ขวดปิดผนึกอย่างนิ่ม (やわらか密封ボトル) ขนาดขวดเล็กกว่าและราคาแพงกว่าขวดธรรมดา เหมาะซื้อมาไว้กินอาหารประเภทจิ้ม หรือจะนำไปปรุงอาหารก็ได้ค่ะแต่จะเปลืองหน่อย

ผลิตภัณท์ใหม่ๆจากโชยุ “โชยุแห้ง”
โชยุแห้งพร้อมรับประทาน มีส่วนผสมของงา หอมใหญ่ กระเทียม พริกไทย มีเกร็ดโชยุกรอบๆ โดยรวมมันก็คือผงโรยข้าวนี่เองค่ะ เหมาะพกติดตัวไปเที่ยว ปิคนิค สำหรับคนที่โหยหารสชาติแบบญี่ปุ่นนอกสถานที่ อารมณ์ประมาณคนไทยพกน้ำพริกกระปุกหรือมาม่าใส่กระเป๋าเดินทางไปเที่ยวต่างแดนค่ะ ใครอยากได้ของฝากแปลกๆ ลองมองหาโชยุแห้งตามซุเปอร์ดูก็ไม่เลวนะ

slot

เทคนิคการเลือกซื้อโชยุ
โชยุที่ขายดี คนใช้เยอะ ก็จะวางขายเยอะค่ะ ทั้งยังมีราคาที่ถูกคุ้มกว่า เรามีวิธีสังเกต 3 ข้อมาฝากกันค่ะ

  1. จำนวนขวดในชั้นวาง จะเห็นได้ว่าขวดที่เหมือนกันเยอะๆอยู่ชั้นล่างสุด ซึ่งมีราคาที่ถูกคุ้ม เป็นของที่ขายดีสุด สำหรับชั้นที่ถัดขึ้นมา ก็เป็นโชยุอย่างดีมีราคาแพงกว่าประมาณ 30% ค่ะ โชยุในชั้นวางยิ่งสูงราคาก็ยิ่งแพงค่ะ
  2. ป้ายราคาสีสดใส มองดูป้ายราคาที่มีตัวแดงหรือสีสดเด่น ไม่ก็ขนาดป้ายที่ใหญ่ค่ะ เพราะนั่นคือสินค้าแนะนำ ราคาพิเศษ ลดเฉพาะวันนี้ หรือในช่วงเวลาหนึ่งเท่านั้นค่ะ แน่นอนว่าเทคนิคนี้ใช้กับสินค้าหลายๆชนิดที่วางขายในซุเปอร์ได้ ไม่ใช่แค่โชยุค่ะ
  3. มองหาโชยุที่อยู่ในลังวางตั้งเป็นกองหลายๆลัง ถ้าเจอก็หยิบใส่ตะกร้าได้เลยค่ะ เพราะเป็นโชยุที่ดีอร่อย ราคาถูกกว่าปกติด้วยค่ะ พอได้แล้วก็วกกลับไปดูที่ชั้นวางนะคะ ทวนข้อ 1 และ 2 อีกรอบ กันพลาด เผื่อไม่ใช่สินค้าโปรโมชั่นค่ะ สินค้าโปรโมชั่นนี้ไม่ได้มีตลอดนะคะ
    สำหรับสินค้าชนิดอื่นก็ใช้วิธีสังเกตนี้ได้เช่นกันค่ะ อย่างเช่น น้ำมัน น้ำตาลทราย ราคาที่ลดจะถูกกว่าปกติประมาณ 30% ค่ะ
    เทคนิคนี้ใช้กับซุปเปอร์มาร์เก็ตราคาส่งบางที่ไม่ได้นะคะ เพราะสินค้าแทบทุกอย่างจัดวางในกล่องลังไม่ใช้ชั้นวาง เพื่อลดต้นทุนค่ะ คนญี่ปุ๋นจะทำตามวัตนธธรรมของเขาแบบเค่งคัดเสมอ

รู้รอบเรื่องโซบะ อาหารหลักของคนญี่ปุ่น

โซบะ (蕎麦) เป็นอาหารที่มีประวัติมายาวนานตั้งแต่สมัยโจมง (ประมาณ 2,400-16,000 ปีก่อน) โดยว่ากันว่ามีการเพาะปลูกต้นโซบะตั้งแต่ในยุคโจมง และจีนก็เริ่มเข้ามามีบทบาทในเศรษฐกิจญี่ปุ่น โดยได้นำเครื่องโม่เข้ามาภายในประเทศจนทำให้เกิดการพัฒนาเส้นโซบะขึ้นมา ตั้งแต่นั้นคนญี่ปุ่นก็เริ่มหันมาทานโซบะมากขึ้นจนกลายเป็นวัฒนธรรมญี่ปุ่น

jumbo jili

เส้นโซบะทำมาจากอะไรกันนะ?
ตัวแป้งของโซบะที่นำมาใช้ทำนั้นคือแป้งทีี่ทำจากเมล็ดของ “ต้นโซบะ” นั่นเอง จึงได้ชื่อว่าโซบะ รูปร่างของเส้นโซบะนั้นมักเป็นทรงกลมยาว และมีสีออกน้ำตาล เพราะเมล็ดมีสีน้ำตาลโทนเดียวกันนั่นเอง

นอกจากนี้ต้นโซบะยังมีอีกชื่อหนึ่งว่า ต้นบัควีท ภาษาอังกฤษคือ Buckwheat ถ้าเห็นที่ไหนก็ให้แน่ใจเลยว่าเป็นอาหารชนิดเดียวกัน บางทีฝรั่งก็เรียกโซบะว่า Buckwheat Noodle (บะหมี่บัควีท)

สล็อต

คุณสมบัติของแป้งโซบะคือ

  1. ช่วยให้เส้นเลือดฝอยแข็งแรงมากขึ้นจึงเป็นอาหารที่เหมาะมากสำหรับคนที่เป็นโรคภาวะหลอดเลือดและโรคความดันโลหิตสูง
  2. ช่วยลดน้ำตาลในเลือดได้จึงเหมาะแก่การนำไปประกอบอาหารให้สำหรับคนที่เป็นเบาหวานรับประทาน
  3. ช่วยเพิ่มความแข็งแกร่งให้ลำไส้ทำให้ท้องไม่ผูก และยังช่วยทำให้เกิดความอยากอาหารอีกด้วย
  4. โซบะมีคุณค่าทางอาหารสูงมากไม่ว่าจะเป็นวิตามินบี1 หรือบี2 และยังมีแร่ธาตุกับโปรตีนเป็น 2 เท่าของแป้งชนิดอื่น นอกจากนั้นยังมีกรดอะมิโนที่จำเป็นต่อร่างกายมนุษย์อีกถึง 8 ชนิดอีกด้วย

สล็อตออนไลน์

อาหารที่มีเส้นโซบะเป็นส่วนประกอบมีอะไรบ้าง
หากได้รู้คุณประโยชน์ของเจ้าเส้นแสนอร่อยนี้แล้วล่ะคงต้องเริ่มหาเมนูโซบะมารับประทานบ้างแล้วล่ะซึ่งก็มีให้เลือกหลายแบบเลย!

  1. ซารุโซบะ โซบะเย็นๆที่ญี่ปุ่นก็ใช่ คนไทยก็ชอบ
    เมนูยอดนิยมของคนไทย ซารุโซบะเป็นเส้นโซบะเย็นที่ค่อยๆใช้ตะเกียบหมุนเส้นและนำไปจุ่มในซอสสูตรเฉพาะให้ได้รสชาติกลมกล่อมของตัวซอส สัมผัสเนื้อเส้นก็มีความนุ่มหนึบ ทานพร้อมผักและเครื่องเคียงได้หลากหลายอย่างไม่ว่าจะเป็นต้นหอมญี่ปุ่น หัวไชเท้าฝอย หรือจะเพิ่มความจัดจ้านด้วยวาซาบิก็อร่อยไปอีกแบบ แน่นอนว่าสิ่งสำคัญที่สุดก็คือซอสที่ใช้จิ้มต้องอร่อย

jumboslot

  1. เทมปุระโซบะ ทำไมคนญี่ปุ่นชอบเอาของทอดมาใส่ในซุป
    เทมปุระโซบะเป็นเส้นโซบะที่ราดซุปจนชุ่มฉ่ำ และโรยหน้าด้วยของทอดเทมปุระตามใจชอบ พร้อมกับอาจเพิ่มต้นหอมหั่นฝอยก็ได้ นอกจากจะได้เพลิดเพลินไปกับความกรอบของแป้งเทมปุระแล้ว ก็ยังสามารถกินโซบะกับซุปร้อนๆ ช่วยลดความมันให้กับเทมปุระซึ่งเป็นของทอดได้อีกด้วย น่ากินสุดๆไปเลย
  2. คิทสึเนะโซบะ โซบะใส่เต้าหู้ทอดญี่ปุ่น
    โซบะในซุปร้อนที่จะมาพร้อมแผ่นเต้าหู้ทอด เพราะคนญี่ปุ่นเชื่อว่า คิทสึเนะ หรือจิ้งจอกของญี่ปุ่นนั้นชื่นชอบเต้าหู้ทอดเป็นอย่างมากจึงได้นำชื่อของคิทสึเนะมาตั้งเป็นชื่อเมนูโซบะที่มีแผ่นเต้าหู้ทอดเป็นส่วนประกอบของตัวอาหาร

slot

ทำไมจึงเลือกโซบะเป็นอาหารต้อนรับวันปีใหม่
ที่ญี่ปุ่นนั้นในวันส่งท้ายปีเก่าหรือวันที่ 31 ธันวาคม เป็นวันที่ชาวญี่ปุ่นทุกครอบครัวจะทำอาหารชนิดหนึ่งของโซบะที่มีชื่อเรียกว่า 年越しそば (โทชิโคชิโซบะ) เป็นเส้นโซบะต้มสุกที่โดนจัดวางใส่ถ้วยพร้อมราดซุปร้อนๆแบบเฉพาะของแต่ละบ้าน ประดับด้วยของตามชอบไม่ว่าจะเป็นเทมปุระหรือเต้าหู้ทอด เนื้อสัตว์อย่างอื่นๆก็สามารถใส่ได้ไม่ว่ากัน

ชาวญี่ปุ่นเชื่อกันว่าหากกินเส้นโซบะในช่วงก่อนวันขึ้นปีใหม่ ชีวิตจะยืนยาวเหมือนเส้นของโซบะที่ยาวมากๆ รวมถึงการกัดก็เช่นกัน เส้นโซบะนั้นนับว่ากินได้ง่ายเพราะมีความนุ่มกว่าเส้นทั่วไป นั่นก็สามารถสื่อได้อีกความหมายว่าหากเราเจอปัญหาอะไรก็ตามก็สามารถคลายปมหรือปัญหาได้อย่างรวดเร็ว คนญี่ปุ่นชอบการท่องเที่ยวและการกินมาก